ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ (HR) มีบทบาทสำคัญต่อความสำเร็จของธุรกิจ โดยทำหน้าที่บริหารจัดการทรัพยากรบุคคลภายในองค์กร ซึ่งรวมถึงการสรรหา คัดเลือก พัฒนา ดูแล และรักษาพนักงาน HR ช่วยให้ธุรกิจประสบความสำเร็จได้หลายประการ ดังนี้
Onboarding และ Orientation เป็นสองกระบวนการสำคัญในการต้อนรับพนักงานใหม่ แต่มีความหมายและวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน
การสัมภาษณ์งาน (Interview) ถือเป็นด่านสำคัญในการคัดเลือกพนักงานที่มีความสามารถและเหมาะสมกับตำแหน่งงานมากที่สุด ในยุคปัจจุบันที่เจเนอเรชัน Z (Gen Z) เริ่มเข้าสู่ตลาดแรงงาน การสัมภาษณ์แบบดั้งเดิมอาจไม่เพียงพอที่จะเข้าใจ Gen Z ได้อย่างลึกซึ้ง บทความนี้จึงขอนำเสนอเทคนิคการสัมภาษณ์ Gen Z แบบ Competency Based Interview
ในยุคดิจิทัลที่เติบโตอย่างรวดเร็ว การใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) เข้ามาช่วยในกระบวนการสรรหาบุคลากรเป็นเรื่องที่สำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ การใช้เทคโนโลยี AI และ machine learning algorithms ในการสรรหาบุคลากรไม่เพียงแค่ช่วยให้กระบวนการเหล่านี้เป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้นเท่านั้น แต่ยังช่วยให้ธุรกิจมีความสามารถในการตอบสนองต่อความต้องการและท้าทายของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
การใช้ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหรือ KPI เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ได้กลายเป็นแนวปฏิบัติโดยทั่วไปขององค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนในประเทศไทย แต่จากประสบการณ์ของการเข้าไปเป็นที่ปรึกษาและวิทยากรในเรื่องดังกล่าวในช่วงเวลาที่ผ่านมา พบว่ามีข้อสงสัยและปัญหาเกี่ยวกับการใช้ KPI ที่มักจะได้รับคำถามมาจากผู้เกี่ยวข้องในระดับต่างๆ อยู่เสมอ
ความรักผูกพันของพนักงานที่มีต่อองค์กรหรือ Employee Engagement เป็นเรื่องที่หลายองค์กรในปัจจุบันให้ความสำคัญมากยิ่งขึ้น เพราะผู้บริหารเข้าใจดีถึงผลกระทบของความสัมพันธ์ดังกล่าวที่มีต่อประสิทธิภาพในการทำงานของบุคลากรและองค์กรโดยรวม ซึ่งในทางปฏิบัติหลายองค์กรก็ได้มีการสำรวจเพื่อวัดระดับความผูกพันดังกล่าว โดยอาจใช้แนวทางการสำรวจที่แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับงบประมาณขององค์กรและแนวคิดที่ใช้ในการออกแบบประเด็นในการวัดของผู้ดำเนินการสำรวจ
เมื่อกล่าวถึงเรื่องสมรรถนะ หรือ Competency หลายท่านก็อาจจะมีความรู้ดีอยู่แล้ว แต่ก็อาจจะมีอีกหลายท่านที่ยังคงสับสนอยู่ว่า Competency คืออะไรกันแน่ ทำไม HR ยุคนี้จึงได้กล่าวถึงกันมากนัก แต่อาจกล่าวโดยสรุปว่า Competency ก็คือสมรรถนะต้นแบบของความสำเร็จที่แสดงออกมาในเชิงพฤติกรรมจริงๆ ของคนทำงาน
การสร้างหรือพัฒนาวัฒนธรรมองค์กร เป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่สำคัญของนักบริหาร เพื่อทำให้องค์กรมีประสิทธิภาพและบรรลุถึงผลสำเร็จตามที่ต้องการ ทั้งนี้เมื่อกล่าวถึงวัฒนธรรมองค์กร คำถามที่ตามมาก็คือ วัฒนธรรมองค์กรคืออะไร มีรูปร่าง หน้าตาอย่างไร ดำรงอยู่ตรงไหนภายในองค์กรของเรา เพราะหากเราจะสร้างหรือพัฒนาวัฒนธรรมองค์กร แต่เรายังไม่ทราบว่าสิ่งนี้คืออะไร ดำรงอยู่ตรงไหน สภาพปัจจุบันเป็นอย่างไร เราก็จะไม่ทราบว่าจะเริ่มต้นทำอะไร อย่างไร
จากการที่ได้มีโอกาสพูดคุยกับผู้บริหารในหลายๆ องค์กรในฐานะที่ปรึกษาการพัฒนาระบบทรัพยากรบุคคลคำถามที่มักถูกถามอยู่เสมอนั่นคือโครงสร้างเงินเดือนคืออะไร ทำไมองค์กรต้องมี ทำธุรกิจมาตั้งหลายสิบปีไม่มีโครงสร้างเงินเดือนก็ยังอยู่มาได้ ทำไมตอนนี้ถึงต้องมี และถ้าไม่มีแล้วจะส่งผลกระทบต่อองค์กรอย่างไร หรือมีแล้วจะเป็นประโยชน์ต่อองค์กรอย่างไร ผู้เขียนจึงขออธิบายเพื่อตอบคำถามดังกล่าวข้างต้น ทั้งในเชิงวิชาการและประสบการณ์
ความเสี่ยงหมายถึงระดับของผลกระทบต่อองค์กรที่พิจารณาจากปัจจัยที่องค์กรให้ความสนใจ ซึ่งผลกระทบจากปัจจัยนั้นๆ อาจจะเกิดขึ้นได้ในโอกาสที่หลากหลายแตกต่างกันไป ทั้งนี้ตัวอย่างของปัจจัยที่องค์กรให้ความสนใจ เช่น อุบัติเหตุที่เกิดจากการทำงาน ซึ่งจะมีระดับของผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อองค์กรได้ตั้งแต่มีพนักงานบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย ไปจนถึงเกิดการบาดเจ็บล้มตายกันเป็นจำนวนมาก จนต้องปิดกิจการไป โดยเหตุการณ์เหล่านี้สามารถเกิดขึ้นได้จากโอกาสที่แตกต่างกันไป สำหรับ ปัจจัยด้านอื่นที่องค์กรให้ความสนใจอีก เช่น ปัจจัยด้านก